SENIOR PROJECT

MORE PROJECT FILES

การพัฒนาหนังสือเสียง เรื่อง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยสำหรับโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

PROJECT FILE
นักศึกษา: นางสาวซัลวา เกปัน
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ขจรศักดิ์ พงศ์ธนา, ดร.เอกญา แววภักดี
บทคัดย่อ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาหนังสือเสียง เรื่อง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยสำหรับโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีคือ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสื่อและด้านเน้ือหาของ หนังสือเสียง จำนวน 3 ท่าน โดยผู้เชี่ยวชาญในการประเมินด้านสื่อ 2 ท่าน และด้านเน้ือหา 1 ท่าน เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1) หนังสือเสียง เรื่องพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย สำหรับโรงเรียน การศึกษาคนตาบอดธรรมสากลหาดใหญ่ 2) แบบประเมินคุณภาพหนังสือเสียงเรื่องพลเมืองดีตาม วิถีประชาธิปไตย สำหรับโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าคุณภาพของหนังสือเสียง เรื่องพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย สำหรับโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ย x̅ เท่ากับ 4.08 และสัดส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.26


การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

PROJECT FILE
นักศึกษา: นางสาวชัญญานุช สุขสุวรรณ์, นางสาวณัฐฐิรา สังข์ทอง, นางสาวสิริพรรณ หนูขาว
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์รัญชกร จันจำปา, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัททิรา กลิ่นเลขา
บทคัดย่อ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ที่รับชมสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในการศึกษาคร้ังน้ีผู้วิจัยได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่รับชมสื่อสิ่งพิมพเ์พื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำ น้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จำนวน 390 คน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยผู้วิจัยำการเก็บข้อมูลโดยวิธีการสุ่มตามสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ 1) สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา2) แบบประเมินคุณภาพสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ที่รับชมสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวจิยัพบว่า 1)คุณภาพของสื่อสิ่งพิมพเ์พื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา อยู่ในระดับคุณภาพดีโดยมีค่าเฉลี่ย (x̄) เท่ากับ 4.40 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.22 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ที่รับชมสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อยอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ย (x̄)เท่ากับ 4.18 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.67


การพัฒนาโมชันกราฟิก เรื่องสารเสพติดให้โทษสำหรับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา

PROJECT FILE
นักศึกษา: นางสาวฐพร ทิพย์มณเทียร, นางสาวรัตนาภรณ์ โกมลตรี, นางสาวธนภรณ์ เเซ่เฮ่า
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์มณฑนรรห์ วัฒนกุล, อาจารย์รัญชกร จันจำปา
บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาโมชันกราฟิก เรื่อง สารเสพติดให้โทษสำหรับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้รับชมที่มีต่อโมชันกราฟิกเรื่อง สารเสพติดให้โทษส าหรับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก าหนด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา จำนวน 30 คน โดยผู้วิจัยกำหนดการเก็บข้อมูลการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ 1) โมชันกราฟิกเรื่องสารเสพติดให้โทษสำหรับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา 2) แบบประเมินคุณภาพของโมชันกราฟิกเรื่องสารเสพติดให้โทษสำหรับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา 3) แบบสอบถามความพึงพอใจความพึงพอใจของผู้ชมที่มีต่อโมชันกราฟิกเรื่องสารเสพติดให้โทษสำหรับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลาสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก ่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพของโมชันกราฟิกเรื่องสารเสพติดให้โทษสำหรับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.63 2. ความพึงพอใจของผู้รับชมที่มีต่อโมชันกราฟิกเรื่องสารเสพติดให้โทษสำหรับโรงพยาบาลสงขลา อยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.64


การพัฒนาสื่ออินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อประชาสัมพันธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา

PROJECT FILE
นักศึกษา: นางสาวชฎาพร ลีไพศาลสกุล, นายทรงธรรม สุขเกษม, นางสาวเครือวัลย์ เกิดหนู
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์อาลาวีย์ ฮะซานี, ดร.เอกญา แววภักดี
บทคัดย่อ

งานวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่ออินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อประชาสัมพันธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา 2) ศึกษาความพึงพอใจประชากรในเทศบาลนครสงขลาที่มีต่อสื่ออินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อประชาสัมพันธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรในเทศบาลนครสงขลา จำนวน 389 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) สื่ออินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อประชาสัมพันธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา 2) แบบประเมินคุณภาพสื่ออินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อประชาสัมพันธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา 3) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ชม ที่มีต่อสื่ออินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อประชาสัมพันธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ร้อยละค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) สื่ออินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อประชาสัมพันธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก (x̅ = 4.78,S.D. = 0.46) 2) ความพึงพอใจของประชากรในเทศบาลนครสงขลาต่อสื่ออินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อประชาสัมพันธ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.26, S.D. = 0.71)


การผลิตโมชันอินโฟกราฟิกเรื่องโรคหนองใน ของหน่วยกามโรคและโรคเอดส์ที่ 12.1 อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

PROJECT FILE
นักศึกษา: นายภานุพงศ์ พรหมชัย, นายกมล เผือกทอง, นายภูมิรพี พัสระ
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์กุลนิดา แย้มทิม, อาจารย์ณัฐพงษ์ หมันหลี
บทคัดย่อ

งานวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อ 1) ผลิตโมชันอินโฟกราฟิกเรื่องโรคหนองใน ของหน่วยกามโรคและโรคเอดส์ที่ 12.1 อำ เภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้รับชมโมชันอินโฟกราฟิกเรื่องโรคหนองใน ของหน่วยกามโรคและโรคเอดส์ที่ 12.1 อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตหาดใหญ่ จำนวน 188 และนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยหาดใหญ่จำนวน 189 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบโควตา และการสุ่มแบบตามสะดวก ตามลำดับ เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ 1) โมชันอินโฟกราฟิกเรื่องโรคหนองใน ของหน่วยกามโรคและโรคเอดส์ที่ 12.1 อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา 2) แบบประเมินคุณภาพโมชันอินโฟกราฟิก เรื่องโรคหนองใน ของหน่วยกามโรคและโรคเอดส์ที่ 12.1 อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับชมโมชันอินโฟกราฟิกเรื่องโรคหนองในของหน่วยกามโรคและโรคเอดส์ที่ 12.1 อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวจิยัพบว่า 1) คุณภาพของโมชันอินโฟกราฟิกเรื่องโรคหนองใน ของหน่วยกามโรคและโรคเอดส์ที่ 12.1 อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาอยู่ในระดับดี(x̅ = 4.13, S.D. =0.52) 2) ความพึงพอใจของผู้รับชมโมชันอินโฟกราฟิกเรื่องโรคหนองใน ของหน่วยกามโรค และโรคเอดส์ที่ 12.1 อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.41, S.D. = 0.26)


การผลิตโมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

PROJECT FILE
นักศึกษา: นางสาวธัญญารัตน์ สุวรรณนะ, นางสาวกนกวรรณ จันทนา, นางสาวณัฐิดา ฤทธิ์โต
อาจารย์ที่ปรึกษา: ดร.เอกญา แววภักดี, อาจารย์ปิติพงศ์ เกิดทิพย์
บทคัดย่อ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลิตโมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 2) ศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรเจ้าหน้าที่และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ที่มีต่อโมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ในการศึกษาคร้ังน้ีผู้วิจัย ได้กำหนดประชากรที่ใช้ในงานวิจัยคร้ังน้ี คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่และนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ระหว่างเดือนมกราคม - เดือนมิถุนายน พ.ศ.2563 และกลุ่มตัวอย่างการหาความพึงพอใจโมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยจำ นวน 385 คน จากนั้นใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างตามความสะดวกเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีประกอบด้วย 1) โมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 2) แบบประเมินคุณภาพโมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับชมที่มีต่อโมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สถิติใน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉลี่ย (x̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพของโมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย(x̅) เท่ากับ 4.30 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.13 2) ความพึงพอใจของผู้รับชมที่มีต่อโมชันกราฟิกเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้ตัวอักษรสัญลักษณ์ RUTS มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.57 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.57


การผลิตสื่อภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

PROJECT FILE
นักศึกษา: นายธกัณฑ์ สีแก้วกลับ, นายเทิดศักดิ์ เตชะยศ, นายวรัญญู สุขช่วย
อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรกฤษฎ์ แก้วประเสริฐ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัททิรา กลิ่นเลขา
บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาประสิทธิภาพของภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และป้องกันนัก สูบหน้าใหม่ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 2) ศึกษาความพึงพอใจของ ผู้รับชมภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพ คือ นักศึกษา ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ที่กําลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษา ที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จํานวน 30 คน โดยผู้วิจัยทําการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการหาความพึงพอใจ คือ ประชาชนผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตที่รับชมสื่อภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และ ป้องกันนักสูบหน้าใหม่ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จํานวน 385 คน โดยผู้วิจัยทําการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) ภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) 2) แบบประเมินประสิทธิภาพสื่อภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 3) แบบสอบถามความพึงใจของผู้ชม ภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพสื่อภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ของสํานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.63 และสัดส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.50 2) ความพึงพอใจของผู้ชมภาพยนตร์สั้นเพื่อรณรงค์และป้องกันนักสูบหน้าใหม่ของสํานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.24 และ สัดส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.76


การผลิตภาพยนตร์สั้นเพื่อลดความเหลื่อมลำ้ต่อการใช้สื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

PROJECT FILE
นักศึกษา: นายชัชวัฒน์ เรี่ยมจ้าปา, นางสาวณัฐสุดา ทองถาวร, นางสาวนนทินี ภู่กลาง
อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัททิรา กลิ่นเลขา, ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรกฤษฎ์ แก้วประเสริฐ
บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์การวิจัย 1) ผลิตภาพยนตร์สั้นเพื่อลดความเหลื่อมล้้าต่อการใช้สื่อการเรียนรู้ ส้าหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้รับชมภาพยนตร์สั้นเพื่อและลดความเหลื่อมล้ำต่อการใช้ สื่อการเรียนรู้ส้าหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรม สากลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่รับชมภาพยนตร์สั้น จำนวน 385 คน ซึ่งใช้สูตรของคอแครน กรณีที่ไม่ทราบประชากรที่แน่นอน โดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบตาม สะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ภาพยนตร์สั้นเพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่อการใช้สื่อการ เรียนรู้ 2) แบบประเมินคุณภาพของภาพยนตร์สั้นเพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่อการใช้สื่อการเรียนรู้ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับชมสื่อภาพยนตร์เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่อการใช้สื่อการเรียนรู้ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาพยนตร์สั้นเพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่อการใช้สื่อการเรียนรู้ส้าหรับนักเรียนที่มีความพร่อง ทางมองเห็นโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีคุณภาพอยู่ในระดับดี (x̅)=3.65, (S.D.)=0.62 2) ความพึงพอใจของผู้รับชมภาพยนตร์เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่อการใช้สื่อการเรียนรู้ส้าหรับ นักเรียนที่มีความพร่องทางการมองเห็นโรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅) = 4.54, (S.D.) = 0.58


การผลิตภาพยนตร์สั้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการปรับตัวในชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา

PROJECT FILE
นักศึกษา: นายจิตรภาณุ อังสุกสิกร, นายแบงค์ชาติ เพชรศรี, นายขจรยศ ราชโยธา
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์อาลาวีย์ ฮะซานี, อาจารย์ณัฐพงษ์ หมันหลี
บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลิตภาพยนตร์สั้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการปรับตัว ในชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา 2) ศึกษาหาความพึงพอใจของผู้รับชม ภาพยนตร์สั้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการปรับตัวในชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในจังหวัดสงขลา จำนวน 397 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม แบ่งเป็นมหาวิทยาลัย จากนั้นทำการสุ่มตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ภาพยนตร์สั้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการปรับตัวในชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา 2) แบบประเมินคุณภาพของภาพยนตร์สั้น เพื่อสร้างความตระหนักถึงการปรับตัวในชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับชมภาพยนตร์สั้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการปรับตัว ในชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาพยนตร์สั้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการปรับตัวในชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา มีคุณภาพอยู่ในระดับดี (x̅= 4.09, S.D. = 0.67) 2) ความพึงพอใจของผู้ชมภาพยนตร์สั้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการปรับตัวในชีวิตวิถีใหม่ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา อยู่ในระดับมาก (x̅= 4.44, S.D. = 0.67)


การผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อรณรงค์และป้องกันการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

PROJECT FILE
นักศึกษา: นายพัชรพล ประชุมชนะ, นายสถาปัตย์ มูละ
อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรกฤษฎ์ แก้วประเสริฐ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัททิรา กลิ่นเลขา
บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อรณรงค์และป้องกันการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้รับชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อรณรงค์และป้องกันการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต เพศหญิง อายุ 13-21 ปี ซึ่งผู้วิจัยกําหนดจำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของคอแครน (Cochran) กรณีที่ไม่ทราบประชากรที่แน่นอนจํานวน 385 คน โดยทําการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) สื่อวีดิทัศน์เพื่อรณรงค์และป้องกันการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 2) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อรณรงค์และป้องกันการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความพึงพอใจของผู้รับชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อรณรงค์และป้องกันการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นหญิงสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.28 และสัดส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.79


การผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกรสํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์

PROJECT FILE
นักศึกษา: นางสาวซีตีฟาตีม๊ะ หมานเหม, นายอนนท์ เทศอาเส็น, นายจตุพร ปัญจกิจ
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ปิติพงศ์ เกิดทิพย์, อาจารย์รัญชกร จันจําปา
บทคัดย่อ

งานงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลิตสื่อวีดิทัศน์ในการประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร สํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้รับชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร สํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาความพึงพอใจ คือ บุคคลทั่วไปที่ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ จํานวน 385 คน จากนั้นทําการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) สื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร สํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 2) แบบประเมินคุณภาพของสื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร สํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร สํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร สํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีคุณภาพอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.00 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 1.08 2) ความพึงพอใจของผู้รับชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร สํานักงานเกษตรจังหวัดสงขลา ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.36 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.62


การผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูปกลุ่มใต้ร่มบุญ ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

PROJECT FILE
นักศึกษา: นางสาวกาญจนี ทองรักษ์, นายชยาชัย ศิริอินทร์, นางสาวศุภานิช บุญแก้ว
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ปิติพงศ์ เกิดทิพย์
บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลิตและพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูปกลุ่มใต้ร่มบุญ ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู%รับชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูปกลุ่มใต้ร่มบุญ ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชากรที่ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกรณีไม่ทราบจํานวนประชากรที่แน่นอน จึงกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรคํานวณของคอแครน ได้จํานวน 385 คน จากนั้นทําการสุ่มแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) สื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูปกลุ่มใต้ร่มบุญ ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2) แบบประเมินคุณภาพสื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูปกลุ่มใต้ร่มบุญ ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 3) แบบประเมินความพึงพอใจออนไลน์ของผู้รับชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูป กลุ่มใต้ร่มบุญ ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูปกลุ่มใต้ร่มบุญ ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีคุณภาพอยู่ในระดับดี (x̅) = 4.08, S.D. = 0.99) 2) ความพึงพอใจของผู้รับชมสื่อวีดิทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูป กลุ่มใต้ร่มบุญ ตําบลพะตง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.45, S.D. = 0.58)